( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 14/10/57
เรียนครั้งที่ 9 เวลาเรียน 14:10 - 17:30
กลุ่ม 102 วันอังคาร ห้อง 434
(Knowledge)
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นักศึกษาที่พร้อมในการนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยที่ยังไม่ต้องมีอุปกรณ์ก็ได้ เพียงแต่มาอธิบายเกี่ยวกับชิ้นงานนั้นว่าทำอย่างไร เล่นอย่างไรเป็นต้น เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะหรือข้อแนะนำได้
โดยที่ดิฉันได้ออกไปนำเสนอพร้อมมีอุปกรณ์ประกอบคือ
ชื่อของเล่น = แก้วส่งเสียง
อุปกรณ์ = 1. แก้วกระดาษ
2. หลอดพลาสติก
3. คลิปหนีบกระดาษ
4. น้ำเปล่า
วิธีทำ = 1. เจาะรูที่ก้นของแก้วกระดาษให้มีขนาดพอดีกับหลอดที่สามารถเสียบเข้าได้
2. ใช้คลิปหนีบกระดาษเจาะปลายหลอดด้านใดก็ได้เป็นแนวขวาง
3. นำหลอดที่ยึดด้วยคลิปหนีบกระดาษแล้ว เสียบเข้าไปในรูที่เจาะไว้ที่ก้นขอแก้ว กระดาษ โดยใช้หลอดฝั่งที่ไม่มีคลิปหนีบกระดาษเสียบรูเข้าทางปากแก้ว
4. เตรียมน้ำเปล่าไว้
วิธีเล่น = ใช้นิ้วมืดจุ่มไปที่น้ำเล็กน้อย แล้วรูดหลอดเป็นแนวยาว แก้วก้จะส่งเสียงออกมา
รูปแบบการเล่น = เล่นได้2แบบด้วยกันคือ
1. ตัดแก้วให้มีขนาดต่างกัน แต่ขนาดของหลอดยังเท่าเดิม เมื่อรูดไปที่หลอด เสียงที่ดังก็จะแตกต่างกันไป
2. ตัดหลอดให้มีขนาดต่างกัน แต่ขนาดของแก้วยังเท่าเดิม เมื่อรูดไปที่หลอด เสียงที่ดังก็จะแตกต่างกันไป
**รูปประกอบ
ต่อมาเมื่อเพื่อนๆที่พร้อมนำเสนอ ได้เสนองานครบทุกคนแล้วอาจารย์ก็ได้แจ้งงานเก่าๆให้นักศึกษาฟัง เพื่อเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน แล้วก็บอกให้เตรียมอุปกรณ์มาให้พร้อมในคราวหน้าด้วย จะได้นำเสนองานให้สมบูรณ์
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นักศึกษาที่พร้อมในการนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยที่ยังไม่ต้องมีอุปกรณ์ก็ได้ เพียงแต่มาอธิบายเกี่ยวกับชิ้นงานนั้นว่าทำอย่างไร เล่นอย่างไรเป็นต้น เพื่อที่อาจารย์จะได้ให้ข้อเสนอแนะหรือข้อแนะนำได้
โดยที่ดิฉันได้ออกไปนำเสนอพร้อมมีอุปกรณ์ประกอบคือ
ชื่อของเล่น = แก้วส่งเสียง
อุปกรณ์ = 1. แก้วกระดาษ
2. หลอดพลาสติก
3. คลิปหนีบกระดาษ
4. น้ำเปล่า
วิธีทำ = 1. เจาะรูที่ก้นของแก้วกระดาษให้มีขนาดพอดีกับหลอดที่สามารถเสียบเข้าได้
2. ใช้คลิปหนีบกระดาษเจาะปลายหลอดด้านใดก็ได้เป็นแนวขวาง
3. นำหลอดที่ยึดด้วยคลิปหนีบกระดาษแล้ว เสียบเข้าไปในรูที่เจาะไว้ที่ก้นขอแก้ว กระดาษ โดยใช้หลอดฝั่งที่ไม่มีคลิปหนีบกระดาษเสียบรูเข้าทางปากแก้ว
4. เตรียมน้ำเปล่าไว้
วิธีเล่น = ใช้นิ้วมืดจุ่มไปที่น้ำเล็กน้อย แล้วรูดหลอดเป็นแนวยาว แก้วก้จะส่งเสียงออกมา
รูปแบบการเล่น = เล่นได้2แบบด้วยกันคือ
1. ตัดแก้วให้มีขนาดต่างกัน แต่ขนาดของหลอดยังเท่าเดิม เมื่อรูดไปที่หลอด เสียงที่ดังก็จะแตกต่างกันไป
2. ตัดหลอดให้มีขนาดต่างกัน แต่ขนาดของแก้วยังเท่าเดิม เมื่อรูดไปที่หลอด เสียงที่ดังก็จะแตกต่างกันไป
**รูปประกอบ
ต่อมาเมื่อเพื่อนๆที่พร้อมนำเสนอ ได้เสนองานครบทุกคนแล้วอาจารย์ก็ได้แจ้งงานเก่าๆให้นักศึกษาฟัง เพื่อเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน แล้วก็บอกให้เตรียมอุปกรณ์มาให้พร้อมในคราวหน้าด้วย จะได้นำเสนองานให้สมบูรณ์
(Applications)
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้
ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะการประดิษฐ์ของเล่นนั้น ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ความสนุกสนานและอีกหลายๆด้านซึ่งเป็นประโยชน์แก่เด็กอย่างมาก เพราะเด็กปฐมวัยเรียนรู้ผ่านการเล่นนั้นเอง การเป็นครูเราต้องมีความรู้รอบด้าน และหนึ่งในนั้นก็คือ
วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับเด็ก
เพราะวิทยาศาสตร์ก็คือสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา
และเราจะได้รู้ด้วยว่าเรื่องใดที่มีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการของเด็ก
กับการนำไปสอนให้กับเด็กปฐมวัย
(Evaluation)
Self = เข้าเรียนสายนิดหน่อย
แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย การเตรียมงาน
เตรียมอุปกรณ์มาทุกอย่าง และได้ออกไปนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย
Friends = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี เพื่อนๆไม่ได้เตรียมพร้อมในการนำเสนอชิ้นงาน มีเพียงส่วนน้อยที่เตรียมมา และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันเกือบทุกคน
Teacher = อาจารย์มักสอนไปถามไปอยู่เสมอ ซึ่งเป็นเทคนิคการสอนที่ดีมาก เพราะคอยกระตุ้นให้นักศึกษานั้นได้ฝึกคิดตาม รวมถึงมีความกล้าแสดงออกมากขึ้นในการตอบคำถาม และการเรียนการสอนก็ไม่ตึงเครียดจนเกินไปด้วย อาจารย์จะมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติ่มเพื่อให้นักศึกษาไปปรับปรุงและคิดตาม ชิ้นงานของนักษานั้นดียิ่งๆขึ้นนั้นเอง
ขอบคุณค่ะ
นางสาว วรัญญา ตุลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น